เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นายนครินทร์ นาคนาวา
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ปีการศึกษา 2567
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ...17.. ชั่วโมง ...... นาที/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา...........ภาษาไทย..ม.4............. จำนวน .....7..... ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา...........ภาษาไทย...ม.6............ จำนวน .....7..... ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน .....0.83..... นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน .....0.83..... นาที/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน .....0.83..... นาที/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน .....4..... ชั่วโมง ........ นาที/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ....3...... ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน .....2..... ชั่วโมง ........ นาที/สัปดาห์
ประเด็นท้าทายเรื่อง
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุ จิ ปุ ลิ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาไทยในหน่วยการจัดการเรียนรู้ อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง
เป้าหมายเชิงปริมาณ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 112 คน ได้รับพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุ จิ ปุ ลิ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาไทยในหน่วยการจัดการเรียนรู้ อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 และผู้เรียนทั้งหมดมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุ จิ ปุ ลิ หน่วยการจัดการเรียนรู้ อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง อยู่ในระดับดี
เป้าหมายคุณภาพ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 4 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 112 คนมีความรู้ความเข้าใจในการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุ จิ ปุ ลิ จากวรรณคดี เรื่องอิเหนาตอนศึกกะหมังกุหนิง
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
ปีการศึกษา 2567
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทน (ท31101)
วิจัยในชั้นเรียน
จัดทำคำอธิบายรายวิชา และจัดทำโครงสร้างรายวิชามีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และสามารถ
นำไปปฏิบัติจริง
กดปุ่มหัวข้อ
สำหรับ
เอกสารประกอบ
ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน
วิจัยในชั้นเรียน
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี
บรรยากาศการใช้สื่อ
ในการจัดการเรียนรู้
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง